ตัวเร่งปฏิกิริยา
1. ตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้นแต่ผลผลิตไม่ได้เพิ่มมากขึ้น
2. ตัวเร่งปฏิกิริยามีความจำเพาะเจาะจงกับสารตั้งต้น
3. ตัวเร่งปฏิกิริยาขะทำให้เกิดกลไกใหม่ที่มีค่า Ea ต่ำกว่ากลไกที่ไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยาจึงส่งผลให้เกิด ปฏิกิริยาเร็วขึ้น
ตัวอย่าง
1. การใส่ยีสในการหมักเหล้าเพื่อเพิ่มปฏิกิริยา
2. เอนไซม์ช่วยย่อยอาหาร
3. ตัวเร่งกำจัดไอเสียที่อุณหภูมิสูงในเครื่องยนต์ของรถยนต์
พื้นที่ผิว
พื้นที่ผิวมากจะช่วยให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้นนั่นแสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิยาเคมีจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับพื้นที่ผิวที่เกิดปฏิกิริยา
ตัวอย่าง
ใส่แผ่นโลหะแมกนีเซียมลงในกรดไฮโดรคลอริกปฏิกิริยาจะเกิดเร็วกว่าการใส่แท่งแมกนีเซียมลงในกรดไฮโดรคลอริก
Mg(s) + 2HCl(aq) ------> MgCl2(aq) + H2(g)